วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

1. Choose between activity 1 or 2 pages

กิจกรรมที่1 ให้นร.เลือกปัญหาในชีวิตประจำวันมา 1 ปัญหา แล้วเขียนอธิบายการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยการใช้ข้อความหรือคำบรรยาย

การเตรียมตัวไปโรงเรียน
รายละเอียดของปัญหา: การเตรียมตัวไปโรงเรียน
การวิเคราะห์: ขั้นตอนการเตรียมตัวไปโรงเรียน
การออกแบบขั้นตอนวิธี: 1.นาฬิกาปลุกดัง
                    2.ตรวจสอบว่าเป็นวันเปิดเทอมหรือไม่
                    -ถ้าไม่ใช่วันเปิดเรียน ให้นอนหลับต่อ
                    -ถ้าใช่วันเปิดเรียน ให้ลุกขึ้นมา อาบน้ำ แต่งตัว รับประทานอาหารเช้า 
                    3.ตรวจสอบว่ามีฝนตกหรือไม่ก่อนออกจากบ้าน
                    -ถ้าตกให้พกร่มไปโรงเรียน แล้วทำตามข้อ 4.
                    -ถ้าไม่ตกให้ทำตามข้อ 4.
                    4.ออกไปโรงเรียน

2. Creative Chapter 3 on mind mapping style

 

3.Creative Chapter 4 on mind mapping

4.Answer 5 question on page 94

(1)จงอธิบายความหมายของการเขียนโปรแกรมและขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรม
-กระบวนการใช้ภาษาคอมเพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูลกำหนดขั้นตอนเพื่อใช้แก้ไขปัญหาไว้
-ขั้นตอนการพัฒนา
1)วิเคราะห์ปัญหา กำหนดสาเหตุของปัญหา ความต้องการของระบบควรต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ ในการแก้ปัญหาดังนี้
1.ความเป็นไปได้ทางเทคนิค
2.ความเป็นไปได้ด้านบุคลากร
3.ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์
2)การออกแบบโปรแกรมอาศัยเครื่องมือต่างๆเพื่อให้การออกแบบเป็นมาตรฐาน
3)การเขียนโปรแกรมการออกแบบโปรแกรมด้วยแผนผังหรือรหัสจำลองมาแปลงเป็นคำสั่งของโปรแกรม
4)การทดสอบโปรแกรมตรวจสอบความถูกต้องของการทำงานและภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
5)การจัดทำเอกสารประกอบการเตรียมเอกสารอธิบายโปรแกรมมีความสำคัญและควรทำอย่างต่อเนื่องหลังจากพัฒนาแล้ว
(2)ภาษาคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมมีภาษาใดบ้างจงอธิบาย
ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาปาสกาล ภาษาจาว่า
(3)จงอธิบายขั้นตอนการเริ่มสร้างโปรเจกต์ใหม่ด้วยโปรแกรม
Microsoft Visual Studio
Start > Programs > Microsoft Visual Studio 2008 > new project > Visual C > Windows Forms Application
(4)การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีชาร์ป มีลักษณะอย่างไร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีชาร์ปมีลักษณะโครงสร้างดังแบบนี้
using System;
             namespace myProgram
            {
                 class Program
                 {
                       static void Main(string[] args)
                       {
                             Console.WriteLine("Hello World");
                             Console.ReadKey();
                       }
                 }
             }
(5)เมื่อได้ออกแบบโปรแกรมที่ต้องการแล้วจะเริ่มสร้างโปรแกรมด้วยภาษาซีชาร์ปจะต้องมีขั้นตอนในการสร้างโปรแกรมอย่างไร
-1.วิธีการเรียกใช้โปรแกรม Visual C#
            โปรแกรม Microsoft Visual C# 2010 Express เป็นชุดโปรแกรมที่บริษัทไมโครซอฟต์อนุญาตให้ดาวน์โหลดติดตั้งได้ฟรี เพราะเวอร์ชัน Express เป็นชุดที่ใช้ในการเรียนรู้การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น จึงไม่ติดปัญหาด้านลิขสิทธิ์ นักเรียนสามารถดาวน์โหลดมาติดตั้ง และทดลองใช้เขียนโปรแกรมได้เองที่บ้าน  
            เมื่อเข้าสู่โปรแกรม C# นักเรียนจะพบหน้าต่าง Start Page ดังรูปต่อไปนี้
              การเขียนโปรแกรมจะต้องเริ่มต้นจากการสร้างโปรเจ็ค (Project) เสียก่อน โดยการคลิกที่ลิงค์  New Project ดังรูป หรือคลิกที่เมนู File แล้วเลือก New Project ก็ได้
            จากนั้นโปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง New Project ขึ้นมาให้เลือกรูปแบบของโปรแกรมที่ต้องการ ให้นักเรียนเลือก Console Application แล้วคลิกตกลง 
            จากนั้นนักเรียนจะได้  Project และไฟล์ที่ใช้ในการเขียนรหัสคำสั่งชื่อ Program.cs โดยไฟล์นี้โปรแกรม C# จะสร้างรหัสโปรแกรมมาให้ส่วนหนึ่ง ดังรูป เพื่อช่วยให้เราเขียนโปรแกรมได้เร็วขึ้น
            ทดลองเขียนโปรแกรมดังตัวอย่างต่อไปนี้
using System;
             namespace myProgram
            {                  class Program                  {                        static void Main(string[] args)                        {                              Console.WriteLine("Hello World");                              Console.ReadKey();                        }                  }              }


          เมื่อพิมพ์คำสั่งเสร็จแล้ว นักเรียนกดแป้น F5 บนแป้นพิมพ์ เพื่อดูผลลัพธ์ของโปรแกรม 

3. การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการเขียนบรรยาย พร้อม 1 ตัวอย่าง       

เป็นการถ่ายทอดความคิดโดยการเขียนคำบรรยายเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกันทั่วไป
จงเขียนแผนผังสำหรับคำนวณหาพื้นที่วงกลม ทั้งนี้ให้รับค่ารัศมี และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ทางเครื่องพิมพ์
รายละเอียดของปัญหา   : คำนวณหาพื้นที่วงกลม
การวิเคราะห์                     : ขั้นตอนคำนวณหาพื้นที่วงกลม จากสูตร พื้นที่วงกลม = π
การออกแบบขั้นตอนวิธี : 1.ข้อมูลออก หรือผลลัพธ์ คือ พื้นที่วงกลม แทนด้วย Area
                                                                    2.ข้อมูลเข้า คือ รัศมี แทนด้วย r

                                             3.วิธีการประมวลผลดังนี้




4.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ พร้อม ตัวอย่าง
เป็นการถ่ายทอดความคิดในรูปแบบแผนภาพ ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เรียกว่า การเขียนแผนผัง(flowchart) ใช้สำหรับการสื่อสารขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาให้เข้าใจตรงกัน เช่น






5.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้รหัสจำลอง พร้อม ตัวอย่าง
เป็นรหัสคำสั่งที่ใช้เขียนเลียนแบบคำสั่งโปรแกรมอย่างย่อ รหัสจำลองจะใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ เช่น






2.การออกแบบขั้นตอนวิธี จากมุมเทคโนโลยี
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1)รับข้อมูลเข้าจากสื่อต่างๆ
2)คำนวณทางคณิตศาสตร์
3)เปรียบเทียบค่าสองค่า
4)เคลื่อนย้ายข้อมูลในหน่วยความจำ
ความสามารถตามลำดับก่อน-หลัง 
1)การกำหนดค่าเริ่มต้น(initialization) คือ การกำหนดค่าตัวแปรบางชนิด
2)การรับข้อมูล(input) คือ การปรับตัวเข้ามาซึ่งตัวแปรได้จากการวิเคราะห์โจทย์ 
3)การคำนวณ(computation) คือ การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนการคำนวณตามลำดับก่อน-หลัง
ตัวกระทำงานคณิตศาสตร์


สัญลักษณ์
การบวก


+
การลบ


-
การคูณ


*
การหาร


/
การยกกำลัง


^








                                                                  4)การคำนวณ ตัวแปรที่แสดงค่า คือ ตัวแปรที่โจทย์ต้องการผลลัพธ์

5)การเปรียบเทียบหรือการเลือก (selection) เป็นการเลือกทิศทางการทำงาน โดยมีเงื่อนไขที่ชัดเจน
ความหมาย
สัญลักษณ์
เท่ากับ
=
น้อยกว่า
< 
มากกว่า
> 
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
<=
มากกว่าหรือเท่ากัน
>=
ไม่เท่ากับ
<> 











6)การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ
P
              NOP (P)
F
T
T
F

P
Q
P AND  Q
P OR Q
T
T
T
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F
F

ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยแผนผังความคิดอธิบายรายละเอียด

 1.ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ


1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา  (State The Problem)

 การระบุข้อมูลออก(output specification) เป็นการกำหนดรูแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการให้แสดงออกมา การระบุข้อมูลเข้า(input specification)  เป็นการกำหนดข้อมูลที่ต้องป้อนเข้า การกำหนดวิธี(process specification) มีการพิจารณาขั้นตอนหรือวิธีการทำงานที่ใช้ในการหาคำตอบ

2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development)

เป็นการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่ หลังจากที่ทำความเข้าใจ เราสามารถคาดคะเนวิธีการแก้ไขปัญหา อีกสำคัญในการแก้ปัญหา คือ
ยุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหา หรือที่เราเรียกว่า “ขั้นตอนวิธี” (Algorithm) ในการแก้ปัญหา
หลังจากที่เราได้เครื่องมือช่วยแก้ปัญหาแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องวางแผนว่าจะใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องที่สุด 


3. การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) 

เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ไขปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้  โดยผุ้แก้ปัญหาต้องศึกษาปัญหาอย่างเชี่ยวชาญ



4.การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) 

หลังจากที่แก้ไขปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง เมื่อไม่ถุกต้องควรปรับปรุงแก้ไข